- (1) ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูง ซึ่งมิใช่บุคคลตามมาตรา 66
- (2) ผู้พิพากษาและตุลาการ
- (3) พนักงานอัยการ
- (4) เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของศาลและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ
- (5) ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่นของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- (6) เจ้าหน้าที่ของรัฐในสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
- (7) เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น
- (8) เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งกระทำความผิดในลักษณะมีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรดำเนินการ
- (9) เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งร่วมกระทำความผิดกับบุคคลตาม (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) หรือ (8) รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นเป็นตัวการ ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุน
ในขณะที่ผู้ถูกกล่าวหาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่เกินห้าปี แต่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยอายุความแม้พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเกินห้าปีแล้ว ย่อมไม่เป็นการตัดอำนาจของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่จะยกคำกล่าวหาที่ได้มีการกล่าวหาไว้แล้วหรือกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของ รัฐนั้นกระทำความผิดขึ้นไต่สวนได้ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน 10 ปีนับแต่พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.4 คำนิยาม “ผู้บริหารระดับสูง” “ผู้อำนวยการกอง”,19(4),84) กรณีไม่อาจหาข้อยุติได้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอำนาจฟ้องคดีเองหรือแต่งตั้งทนายความให้ฟ้องคดี แทน (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.84,97 วรรคหนึ่ง,วรรคสอง) คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่ามีความผิดทางอาญา (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.97 วรรคหนึ่ง) ให้ส่งเรื่องให้ อัยการสูงสุด
จะทำอย่างไรเมื่อถูกฟ้องคดีอาญาทุจริต ปรึกษากฎหมายได้ที่นี้

การรับเป็นที่ปรึกษากฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจ มรดก แรงงาน เวนคืน อื่นๆ ทุกประเภท และรับเป็นทนายความเพื่อเจรจาต่อรอง และแก้ไขข้อพิพาท
การดำเนินการยื่นฟ้องหรือต่อสู้คดีแพ่ง คดีอาญา
คดีแรงงาน คดีล้มละลาย คดีศาลทรัพย์สินทางปัญญา
คดีร้องขอฟื้นฟูกิจการ และอรรถคดีทั้งปวง
การดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลชั้นต้น
จนถึงศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
รวมตลอดถึงการยื่นอุทธรณ์และฎีกา
และหรือการแก้อุทธรณ์หรือฎีกา...